ใครเคยถามเรื่องการหมุนเวียนเงินแปลกๆ ลองดูนี่ครับ
ใครเคยถามเรื่องการหมุนเวียนเงินแปลกๆ ลองดูนี่ครับ
CPH ชี้แจงงบการเงินไตรมาส 2/2547เพิ่มเติม
บมจ.คาสเซ่อร์พีค โฮลดิ้ง(CPH) ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมในงบการเงินและงบ
การเงินรวมไตรมาสที่ 2 สิ้นสุด ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2547 ดังนี้1. รายการเงินให้กู้ยืม
และเงินทดรองจ่ายแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
1.1 ข้อมูลของบริษัทที่ CPH ให้กู้ยืม
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอรี่ง จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : ภัตตาคารเทียนหลงเหลา
สถานที่ดำเนินการ : อาคาร ซี.พี.เอช.ทาวเวอร์ 393 หมู่ 4 ถนนเพชรเกษม
แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพฯ
วันที่เปิดดำเนินการ :เมษายน 2538
วันที่ปิดดำเนินการ : เมษายน 2545
คณะกรรมการ : 1. น.ส.มยุรี พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรีของกรรมการ
2. นายภูมิตร์ พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรของกรรมการ
3. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บจ.คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง % ของจำนวนหุ้น
1. บจ.คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล (ถือหุ้นโดย CPH 99.99%) 45.00
2. บจ.ซัคเซส เรียลเอสเตท 45.00
3. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 10.00
100.00
คณะกรรมการของบริษัท คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
1.นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
2.นายภูเทพ พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
3.นางอารี เต็มพิทยาคม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 54.00
2. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข 36.20
3. นายภูมิตร์ พงษ์เฉลิม 3.65
4. น.ส.มยุรี พงษ์เฉลิม 3.65
5. อื่นๆ 2.50
100.00
คณะกรรมการของบริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด* ถือหุ้น CPH % ของจำนวนหุ้น
ณ วันที่ 25 มีนาคม 2547
1. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 1,194,332 หุ้น 2.99
2. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข 920,580 หุ้น 2.30
3. น.ส.พัชมน จิรายุทธเจริญสุข 66 หุ้น 0.00
4. บริษัท ซัคเซศ เรียลเอสเตท จำกัด 1,848,000 หุ้น 4.62
รวม 3,962,978 หุ้น 9.91
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน
คณะกรรมการ: 1. Mr.Kong Chenk Ming ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
2. Mr.Lee Kam Chiu ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
3. นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. King Loon Development Co., Ltd. 70.00
2. บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) 30.00
100.00
- รายชื่อผู้ถือหุ้น 5 อันดับแรกของ บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) % ของจำนวนหุ้น
ณ วันที่ 24 มีนาคม 2547
1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม 29.70
2. น.ส.วณี เต็มพิทยาคม 8.50
3. บริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด 4.62
4. บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ วอลล์สตรีท จำกัด (มหาชน) 4.24
5. นายภูศักดิ์ พงษ์เฉลิม 3.15
รายชื่อคณะกรรมการของ บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม
2. น.ส.วณี เต็มพิทยาคม
3. นายลิว ชอ เท้ง
4. นายภูเทพ พงษ์เฉลิม
5. นางหว่อง ซุ่น หยี่
6. นายวู แมน ฟัน
7. นางอารี เต็มพิทยาคม
8. นางนพคุณ สมบูรณ์วิริยะ
9. นางปิยดา สุกใส
10. นายประเสริฐ กุลสมภพ
11. นายวิฑูร จุลไกรอานิสงส์
12. นายวิสิทธิ์ ลีละศิธร
- รายชื่อผู้ถือหุ้นของ King Loon Development Co., Ltd. ไม่มีข้อมูล
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : ลงทุนในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
คณะกรรมการ: 1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/และผู้ถือหุ้นรายใหญ่
2. นายสุธรรม ธรรมวิทยากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
3. นายสุรศักดิ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
4. นายชูพงษ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
5. นางอารี เต็มพิทยาคม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
6. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
7. นายภูยส พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรของกรรมการ
รายชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) 41.00
2. นายชูพงษ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 30.00
3. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 6.40
4. นายลิน ยัน ปิง ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 5.60
5. นางวัฒนา เสริมพรวิวัฒน์ ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 5.50
6. อื่นๆ 11.50
รวม 100.00
1.2 ลักษณะการให้กู้ยืม
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
วันเดือนปี 30 กันยายน 2540
เงินต้น 7,500,000.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ อัตราดอกเบี้ย MLR ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
หยุดการบันทึกดอกเบี้ยรับ เมื่อเดือนธันวาคม 2543 เ
2000
นื่องจากการหยุดดำเนินกิจการและได้ตั้ง
สำรองหนี้สูญแล้ว
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
วันเดือนปี 31 มกราคม 2537
เงินต้น 7,595,250.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม ตามข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นที่จะต้องจดทะเบียนเพิ่มทุนในสัดส่วนการถือหุ้นเดิม จึงไม่ได้บันทึก
รายการดอกเบี้ย
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
วันเดือนปี 18 มีนาคม 2541
เงินต้น 5,500,000.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน อัตราดอกเบี้ย 8.5% ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน ไม่มียอดดอกเบี้ย
ค้างชำระ
1.3 ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทและกรรมการตรวจสอบต่อลูกหนี้เงินกู้ยืม และการสำรองหนี้สูญ
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
ปัจจุบันกิจการภัตตาคาร หยุดดำเนินงานแล้ว จึงเป็นความเหมาะสมที่จะต้องบันทึกรายการตั้งสำรองหนี้สูญทั้งจำนวน
และหยุดการรับรู้รายได้รับด้านดอกเบี้ยรับ
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
เนื่องจาก King Loon Development Co., Ltd.(ผู้ถือหุ้นร้อยละ 70) ประสบปัญหาด้านการเงิน อยู่ในระหว่าง
การถูกพิทักษ์ทรัพย์ จึงไม่สามารถแต่งตั้งกรรมการเข้ามาบริหารในบริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด ได คณะ
กรรมการบริษัทฯมีความเห็นว่า การดำเนินการทางศาลเพื่อแต่งตั้งผู้เข้ามาบริหารในฐานะกรรมการแทนกรรมการคนเดิม
ทำให้ธุรกิจต้องหยุดดำเนินการโดยปริยาย จึงเห็นสมควรให้บริษัทฯบันทึกรายการสำรองหนี้สูญทั้งจำนวน
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
ลูกหนี้ยังจำเป็นต้องใช้เงินทุนหมุนเวียน สามารถชำระดอกเบี้ยได้อย่างสม่ำเสมอ
1.4 นโยบายการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ CPH ในอนาคต
- ให้กู้ยืมเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนเท่านั้น และชำระคืนภายใน 1 ปี
2. ขายเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กปอร์ต จำกัด และ บริษัท กัมโบเดีย ซีพีจี การ์เมนท์
เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด
2.1 ผู้ซื้อเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท กัมโบเดีย ซีพีจี
การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด คือ Mr. Chen Chao Bin นักลงทุนชาวจีนผู้ซึ่งทำธุรกิจด้านส่งออกเสื้อผ้า
สำเร็จรูปไปจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่ความสัมพันธ์ใดๆ กับ CPH
2.2 เหตุผลในการขายเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท
กัมโบเดีย ซีพีจี การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด คือ
- บริษัททั้ง 2 แห่งประสบปัญหาการขาดทุนจากการดำเนินงานอย่างมากและต่อเนื่อง นับตั้งแต่เปิดดำเนินงาน
- ประสิทธิภาพของแรงงานต่ำ ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยสูง ใช้เวลาในการผลิตมาก ทำให้สินค้าเสร็จไม่
ทันกำหนดในการส่งมอบ จึงต้องใช้การขนส่งทางเครื่องบินแทนการขนส่งทางเรือ ทำให้เพิ่มค่า
ใช้จ่ายด้านขนส่งเป็นจำนวนมาก และมีสินค้าที่ผลิตไม่เสร็จทันตามกำหนด ทำให้ลูกค้ายกเลิกคำสั่ง
ซื้ออยู่เสมอ
- เกิดปัญหาการนัดหยุดงานอยู่เสมอๆ คนงานเรียกร้องค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆเพิ่มขึ้นตลอด
เวลา สหภาพแรงงานมักเรียกร้องให้คนงานทุกคนจากทุกโรงงานมาชุมนุม เพื่อการรวมตัวจำนวน
มากในการต่อรองกับนายจ้าง และรวมถึงผลทางการเมืองด้วย
- ความไม่ปลอดภัย ระหว่างที่บริษัทฯดำเนินการอยู่ เกิดเหตุการณ์จลาจลครั้งใหญ่ 2 ครั้ง ในกรุง
พนมเปญ สินค้า อาคารโรงงานและเครื่องจักรบางส่วนได้รับความเสียหาย ระหว่างการเกิดจลาจล
บริษัทฯต้องว่าจ้างเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเป็นจำนวนมาก เพื่อรักษาความปลอดภัยในบริเวณ
โรงงานตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นเงินจำนวนมาก
นอกจากนี้การเกิดจลาจลเมื่อเดือนมกราคม 2546 สถานฑูตไทยและธุรกิจของคนไทยในกรุง
พนมเปญถูกทำลายทรัพย์สิน ความรู้สึกของชาวกัมพูชาต่อคนไทยไม่ได้เป็นไปด้วยดีเช่นเดิม
พนักงานคนไทยในระดับหัวหน้างานและฝ่ายจัดการที่บริษัทฯส่งไปทำงาน มีความหวาดกลัวและ
วิตกต่อปัญหาด้านความปลอดภัยของตนเองในการที่พำนักอยู่ในกรุงพนมเปญ จึงขอลาออก
- ข้อกำหนด ระเบียบ และการปฏิบัติงานของราชการมีความยุ่งยากและซับซ้อน เป็นอุปสรรคในการ
นำเข้าวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตและการส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ
เกณฑ์ในการกำหนดราคาขายเงินลงทุน
ข้อพิจารณาการขายเงินลงทุน
จากงบการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2546 Cambodia Castle Peak Cambodia CPG
(US$) (US$)
สินทรัพย์ 560,928.33 2,862,996.47
หนี้สิน 1,769,591.70 5,042,599.40
สินทรัพย์สุทธิ (หนี้สินมากกว่าทรัพย์สิน) (1,208,663.37) (2,179,602.93)
Cambodia Castle Peak เป็นหนี้ บริษัท คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บริษัทย่อย)
US$ 2,915,559.60 และ Cambodia CPG เป็นหนี้บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
US$ 1,770,222.75
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาข้อเสนอของผู้ซื้อหลายรายตามเงื่อนไขดังนี้
- ขายทรัพย์สินและเลิกบริษัท หรือ
- ขายเงินลงทุน
บริษัทฯทั้ง 2 แห่งดังกล่าว มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก อีกทั้งปัญหาการเกิดการจลาจลที่
เกิดขึ้นในเดือนมกราคม 2546 ทำให้นักลงทุนมีความวิตกกังวลว่าอาจจะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก ในการประชุม
คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 9/2546 วันที่ 14 พฤษภาคม 2546 ได้เสนอราคาขายดังนี้
ในกรณีขายทรัพย์สิน
- Cambodia Castle Peak กำหนดราคาขายทรัพย์สิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ราคา US$ 428,000 ตั้ง
ราคาโดยคำนวณจากร้อยละ 40 ของราคาทุนรวมกับอากรขาเข้าและค่าปรับที่คาดว่าจะต้องจ่าย
- Cambodia CPG กำหนดราคาขายทรัพย์สิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ราคา US$ 1,148,000 ตั้งราคาตาม
หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับ Cambodia Castle Peak
ในกรณีขายหุ้น
- Cambodia Castle Peak และ Cambodia CPG คาดว่ามีภาระหนี้สินที่ต้องชำระต่อบุคคลภายนอกจำนวน
US$ 127,487.88 และ US$ 203,177.04 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีภาระหนี้สินและค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในกรณี
ที่ขายเฉพาะทรัพย์สินอีกประมาณ US$ 700,000 ดังนั้นที่ประชุมจึงไม่สามารถจะกำหนดราคาขายของหุ้นได้
ให้นำข้อเสนอของผู้ประสงค์จะซื้อหุ้นมาพิจารณาว่า ข้อเสนอใดซึ่งบริษัทฯจะได้รับผลตอบแทนสูงที่สุด
ข้อเสนอของผู้ซื้อเฉพาะเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นๆ และเลิกบริษัท เปรียบเทียบกับการขายเงินลงทุน
โดยพิจารณาจากผู้เสนอเงื่อนไขที่ดีที่สุด
กรณีขายเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นๆ และเลิกบริษัท
เงินรับ US$ 388,165.18
เงินจ่าย - เจ้าหนี้ (ภายนอก) US$ (330,664.92)
- ค่าใช้จ่าย (เลิกกิจการ เงินชดเชยแรงงาน ภาระภาษี) US$ (720,007.99)
เงินรับสุทธิ (เงินจ่ายมากกว่าเงินรับ) US$ (662,507.73)
กรณีการขายเงินลงทุน
เงินรับ - ค่าหุ้น US$ 66,000.00
- ชำระหนี้ (10% ของมูลหนี้เดิม) US$ 262,290.45
เงินรับสุทธิ US$ 328,290.45
คณะกรรมการได้พิจารณาข้อดีและข้อเสียในทางเลือก 2 แนวทางดังกล่าวข้างต้น ในการประชุม
ครั้งที่ 11/2546 ในวันที่ 6 มิถุนายน 2546 มีข้อสรุปคือสมควรที่จะขายในลักษณะการขายเงินลงทุน
เพราะได้รับเงินสุทธิสูงกว่าค่าใช้จ่ายในการเลิกบริษัท ภาระภาษีนำเข้าวัตถุดิบและภาษีขายที่ค้างชำระ
ต่อรัฐบาล เงินชดเชยการเลิกจ้างตามข้อกำหนดของสหภาพแรงงาน รวมค่าใช้จ่ายอื่นๆ คาดว่าจะสูง
ถึง US$ 720,000
2.3 ตามที่ได้กล่าวแล้วในข้อ 2.2 ในการขายเงินลงทุนบริษัทฯ จะได้พ้นความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ภายนอก
เช่น ค่าเช่าค้างจ่าย ค่าปลูกสร้างอาคารโรงงานค้างจ่าย เป็นต้น จำนวนเงิน US$ 330,664.92 ถ้าหาก
บริษัทฯเลือกวิธีการเลิกบริษัทฯจะต้องมีภาระภาษีที่ค้างชำระและเงินชดเชยการเลิกจ้างพนักงานอีกด้วย
เมื่อพิจารณาเรื่องภาระหนี้สินที่มีอยู่ในขณะนั้นและค่าใช้จ่ายจะต้องเกิดขึ้นในภายหลัง บริษัทฯมีความประสงค์ที่จะ
ขายเงินลงทุนเพื่อให้บริษัทฯ ไม่มีภาระหนี้สินดังที่ได้กล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องลดหนี้ลงให้ชำระเพียงร้อยละ 10 ของมูล
หนี้เดิม
บริษัทฯได้ทำสัญญาซื้อขายหุ้นของบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท กัมโบเดีย
ซีพีจี การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2546 กำหนดการชำระเงินแบ่งเป็น 4 งวด คือ เดือนมิถุนายน
เดือนกรกฎาคม เดือนสิงหาคมและเดือนกันยายน 2546 ตามลำดับ บริษัทฯได้รับเงินครบถ้วนจำนวน US$ 66,000 ตามที่กำหนด
ไว้ในสัญญา
หนี้สินที่จะต้องชำระร้อยละ 10
ของมูลหนี้เดิม เป็นจำนวนเงิน US$ 262,290.45 นี้ ตามสัญญากำหนดให้แบ่งจ่าย
เป็น 4 งวด เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน 2547 เมื่อถึงกำหนดการชำระเงิน บริษัทฯได้ติดตามและทวงถาม ซึ่งลูก
หนี้ขอผัดผ่อนการชำระเงินออกไป โดยให้เหตุผลว่ากลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่เข้ามาบริหารกิจการต่ออยู่ในช่วงเวลาที่ประเทศ
กัมพูชามีการเลือกตั้งผู้บริหารประเทศ มีกลุ่มนักการเมืองชักจูงให้คนงานเข้าร่วมกิจกรรมของสหภาพแรงงานรวมถึงการ
นัดหยุดงาน เพื่อผลทางด้านการเมือง ทำให้การผลิตของโรงงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย สินค้าผลิตไม่ทันตามกำหนดส่ง
มอบ จึงถูกการยกเลิกคำสั่งซื้อ
บริษัทฯจึงได้แต่งตั้ง Mr.Han Heng แห่งสำนักงานกฎหมาย Sok Yeang Hansing Low Office เป็นผู้รับมอบอำนาจ
จากบริษัทฯให้ดำเนินการติดตามหนี้ที่ค้างชำระหนี้นี้ ขณะนี้อยู่ในระหว่างการสืบทรัพย์ของลูกหนี้รายนี้และดำเนินการทาง
ศาล
บมจ.คาสเซ่อร์พีค โฮลดิ้ง(CPH) ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมในงบการเงินและงบ
การเงินรวมไตรมาสที่ 2 สิ้นสุด ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2547 ดังนี้1. รายการเงินให้กู้ยืม
และเงินทดรองจ่ายแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
1.1 ข้อมูลของบริษัทที่ CPH ให้กู้ยืม
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอรี่ง จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : ภัตตาคารเทียนหลงเหลา
สถานที่ดำเนินการ : อาคาร ซี.พี.เอช.ทาวเวอร์ 393 หมู่ 4 ถนนเพชรเกษม
แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพฯ
วันที่เปิดดำเนินการ :เมษายน 2538
วันที่ปิดดำเนินการ : เมษายน 2545
คณะกรรมการ : 1. น.ส.มยุรี พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรีของกรรมการ
2. นายภูมิตร์ พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรของกรรมการ
3. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บจ.คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง % ของจำนวนหุ้น
1. บจ.คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล (ถือหุ้นโดย CPH 99.99%) 45.00
2. บจ.ซัคเซส เรียลเอสเตท 45.00
3. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 10.00
100.00
คณะกรรมการของบริษัท คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
1.นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
2.นายภูเทพ พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
3.นางอารี เต็มพิทยาคม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 54.00
2. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข 36.20
3. นายภูมิตร์ พงษ์เฉลิม 3.65
4. น.ส.มยุรี พงษ์เฉลิม 3.65
5. อื่นๆ 2.50
100.00
คณะกรรมการของบริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด* ถือหุ้น CPH % ของจำนวนหุ้น
ณ วันที่ 25 มีนาคม 2547
1. น.ส.พรพรรณ ตติยพรพันธุ์ 1,194,332 หุ้น 2.99
2. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข 920,580 หุ้น 2.30
3. น.ส.พัชมน จิรายุทธเจริญสุข 66 หุ้น 0.00
4. บริษัท ซัคเซศ เรียลเอสเตท จำกัด 1,848,000 หุ้น 4.62
รวม 3,962,978 หุ้น 9.91
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน
คณะกรรมการ: 1. Mr.Kong Chenk Ming ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
2. Mr.Lee Kam Chiu ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
3. นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
รายชื่อผู้ถือหุ้นของ บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. King Loon Development Co., Ltd. 70.00
2. บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) 30.00
100.00
- รายชื่อผู้ถือหุ้น 5 อันดับแรกของ บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) % ของจำนวนหุ้น
ณ วันที่ 24 มีนาคม 2547
1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม 29.70
2. น.ส.วณี เต็มพิทยาคม 8.50
3. บริษัท ซัคเซส เรียลเอสเตท จำกัด 4.62
4. บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ วอลล์สตรีท จำกัด (มหาชน) 4.24
5. นายภูศักดิ์ พงษ์เฉลิม 3.15
รายชื่อคณะกรรมการของ บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม
2. น.ส.วณี เต็มพิทยาคม
3. นายลิว ชอ เท้ง
4. นายภูเทพ พงษ์เฉลิม
5. นางหว่อง ซุ่น หยี่
6. นายวู แมน ฟัน
7. นางอารี เต็มพิทยาคม
8. นางนพคุณ สมบูรณ์วิริยะ
9. นางปิยดา สุกใส
10. นายประเสริฐ กุลสมภพ
11. นายวิฑูร จุลไกรอานิสงส์
12. นายวิสิทธิ์ ลีละศิธร
- รายชื่อผู้ถือหุ้นของ King Loon Development Co., Ltd. ไม่มีข้อมูล
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
ลักษณะธุรกิจ : ลงทุนในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
คณะกรรมการ: 1. นายบุญชู พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH ประธานกรรมการ/และผู้ถือหุ้นรายใหญ่
2. นายสุธรรม ธรรมวิทยากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
3. นายสุรศักดิ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
4. นายชูพงษ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
5. นางอารี เต็มพิทยาคม ความสัมพันธ์กับ CPH กรรมการ
6. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี
7. นายภูยส พงษ์เฉลิม ความสัมพันธ์กับ CPH บุตรของกรรมการ
รายชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด % ของจำนวนหุ้น
1. บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) 41.00
2. นายชูพงษ์ ศิริพจนากุล ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 30.00
3. น.ส.กรรณกร จิรายุทธเจริญสุข ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 6.40
4. นายลิน ยัน ปิง ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 5.60
5. นางวัฒนา เสริมพรวิวัฒน์ ความสัมพันธ์กับ CPH ไม่มี 5.50
6. อื่นๆ 11.50
รวม 100.00
1.2 ลักษณะการให้กู้ยืม
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
วันเดือนปี 30 กันยายน 2540
เงินต้น 7,500,000.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ อัตราดอกเบี้ย MLR ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
หยุดการบันทึกดอกเบี้ยรับ เมื่อเดือนธันวาคม 2543 เ
2000
นื่องจากการหยุดดำเนินกิจการและได้ตั้ง
สำรองหนี้สูญแล้ว
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
วันเดือนปี 31 มกราคม 2537
เงินต้น 7,595,250.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม ตามข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นที่จะต้องจดทะเบียนเพิ่มทุนในสัดส่วนการถือหุ้นเดิม จึงไม่ได้บันทึก
รายการดอกเบี้ย
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
วันเดือนปี 18 มีนาคม 2541
เงินต้น 5,500,000.- บาท
เหตุผลของการให้กู้ยืม เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน อัตราดอกเบี้ย 8.5% ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน ไม่มียอดดอกเบี้ย
ค้างชำระ
1.3 ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทและกรรมการตรวจสอบต่อลูกหนี้เงินกู้ยืม และการสำรองหนี้สูญ
(ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
ปัจจุบันกิจการภัตตาคาร หยุดดำเนินงานแล้ว จึงเป็นความเหมาะสมที่จะต้องบันทึกรายการตั้งสำรองหนี้สูญทั้งจำนวน
และหยุดการรับรู้รายได้รับด้านดอกเบี้ยรับ
(ข) บริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
เนื่องจาก King Loon Development Co., Ltd.(ผู้ถือหุ้นร้อยละ 70) ประสบปัญหาด้านการเงิน อยู่ในระหว่าง
การถูกพิทักษ์ทรัพย์ จึงไม่สามารถแต่งตั้งกรรมการเข้ามาบริหารในบริษัท ฟูกูยาม่า ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด ได คณะ
กรรมการบริษัทฯมีความเห็นว่า การดำเนินการทางศาลเพื่อแต่งตั้งผู้เข้ามาบริหารในฐานะกรรมการแทนกรรมการคนเดิม
ทำให้ธุรกิจต้องหยุดดำเนินการโดยปริยาย จึงเห็นสมควรให้บริษัทฯบันทึกรายการสำรองหนี้สูญทั้งจำนวน
(ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
ลูกหนี้ยังจำเป็นต้องใช้เงินทุนหมุนเวียน สามารถชำระดอกเบี้ยได้อย่างสม่ำเสมอ
1.4 นโยบายการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ CPH ในอนาคต
- ให้กู้ยืมเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนเท่านั้น และชำระคืนภายใน 1 ปี
2. ขายเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กปอร์ต จำกัด และ บริษัท กัมโบเดีย ซีพีจี การ์เมนท์
เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด
2.1 ผู้ซื้อเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท กัมโบเดีย ซีพีจี
การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด คือ Mr. Chen Chao Bin นักลงทุนชาวจีนผู้ซึ่งทำธุรกิจด้านส่งออกเสื้อผ้า
สำเร็จรูปไปจำหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่ความสัมพันธ์ใดๆ กับ CPH
2.2 เหตุผลในการขายเงินลงทุนในบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท
กัมโบเดีย ซีพีจี การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด คือ
- บริษัททั้ง 2 แห่งประสบปัญหาการขาดทุนจากการดำเนินงานอย่างมากและต่อเนื่อง นับตั้งแต่เปิดดำเนินงาน
- ประสิทธิภาพของแรงงานต่ำ ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยสูง ใช้เวลาในการผลิตมาก ทำให้สินค้าเสร็จไม่
ทันกำหนดในการส่งมอบ จึงต้องใช้การขนส่งทางเครื่องบินแทนการขนส่งทางเรือ ทำให้เพิ่มค่า
ใช้จ่ายด้านขนส่งเป็นจำนวนมาก และมีสินค้าที่ผลิตไม่เสร็จทันตามกำหนด ทำให้ลูกค้ายกเลิกคำสั่ง
ซื้ออยู่เสมอ
- เกิดปัญหาการนัดหยุดงานอยู่เสมอๆ คนงานเรียกร้องค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆเพิ่มขึ้นตลอด
เวลา สหภาพแรงงานมักเรียกร้องให้คนงานทุกคนจากทุกโรงงานมาชุมนุม เพื่อการรวมตัวจำนวน
มากในการต่อรองกับนายจ้าง และรวมถึงผลทางการเมืองด้วย
- ความไม่ปลอดภัย ระหว่างที่บริษัทฯดำเนินการอยู่ เกิดเหตุการณ์จลาจลครั้งใหญ่ 2 ครั้ง ในกรุง
พนมเปญ สินค้า อาคารโรงงานและเครื่องจักรบางส่วนได้รับความเสียหาย ระหว่างการเกิดจลาจล
บริษัทฯต้องว่าจ้างเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยเป็นจำนวนมาก เพื่อรักษาความปลอดภัยในบริเวณ
โรงงานตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นเงินจำนวนมาก
นอกจากนี้การเกิดจลาจลเมื่อเดือนมกราคม 2546 สถานฑูตไทยและธุรกิจของคนไทยในกรุง
พนมเปญถูกทำลายทรัพย์สิน ความรู้สึกของชาวกัมพูชาต่อคนไทยไม่ได้เป็นไปด้วยดีเช่นเดิม
พนักงานคนไทยในระดับหัวหน้างานและฝ่ายจัดการที่บริษัทฯส่งไปทำงาน มีความหวาดกลัวและ
วิตกต่อปัญหาด้านความปลอดภัยของตนเองในการที่พำนักอยู่ในกรุงพนมเปญ จึงขอลาออก
- ข้อกำหนด ระเบียบ และการปฏิบัติงานของราชการมีความยุ่งยากและซับซ้อน เป็นอุปสรรคในการ
นำเข้าวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตและการส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ
เกณฑ์ในการกำหนดราคาขายเงินลงทุน
ข้อพิจารณาการขายเงินลงทุน
จากงบการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2546 Cambodia Castle Peak Cambodia CPG
(US$) (US$)
สินทรัพย์ 560,928.33 2,862,996.47
หนี้สิน 1,769,591.70 5,042,599.40
สินทรัพย์สุทธิ (หนี้สินมากกว่าทรัพย์สิน) (1,208,663.37) (2,179,602.93)
Cambodia Castle Peak เป็นหนี้ บริษัท คาสเซ่อร์พีค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (บริษัทย่อย)
US$ 2,915,559.60 และ Cambodia CPG เป็นหนี้บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
US$ 1,770,222.75
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาข้อเสนอของผู้ซื้อหลายรายตามเงื่อนไขดังนี้
- ขายทรัพย์สินและเลิกบริษัท หรือ
- ขายเงินลงทุน
บริษัทฯทั้ง 2 แห่งดังกล่าว มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก อีกทั้งปัญหาการเกิดการจลาจลที่
เกิดขึ้นในเดือนมกราคม 2546 ทำให้นักลงทุนมีความวิตกกังวลว่าอาจจะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก ในการประชุม
คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 9/2546 วันที่ 14 พฤษภาคม 2546 ได้เสนอราคาขายดังนี้
ในกรณีขายทรัพย์สิน
- Cambodia Castle Peak กำหนดราคาขายทรัพย์สิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ราคา US$ 428,000 ตั้ง
ราคาโดยคำนวณจากร้อยละ 40 ของราคาทุนรวมกับอากรขาเข้าและค่าปรับที่คาดว่าจะต้องจ่าย
- Cambodia CPG กำหนดราคาขายทรัพย์สิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ราคา US$ 1,148,000 ตั้งราคาตาม
หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับ Cambodia Castle Peak
ในกรณีขายหุ้น
- Cambodia Castle Peak และ Cambodia CPG คาดว่ามีภาระหนี้สินที่ต้องชำระต่อบุคคลภายนอกจำนวน
US$ 127,487.88 และ US$ 203,177.04 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีภาระหนี้สินและค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในกรณี
ที่ขายเฉพาะทรัพย์สินอีกประมาณ US$ 700,000 ดังนั้นที่ประชุมจึงไม่สามารถจะกำหนดราคาขายของหุ้นได้
ให้นำข้อเสนอของผู้ประสงค์จะซื้อหุ้นมาพิจารณาว่า ข้อเสนอใดซึ่งบริษัทฯจะได้รับผลตอบแทนสูงที่สุด
ข้อเสนอของผู้ซื้อเฉพาะเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นๆ และเลิกบริษัท เปรียบเทียบกับการขายเงินลงทุน
โดยพิจารณาจากผู้เสนอเงื่อนไขที่ดีที่สุด
กรณีขายเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นๆ และเลิกบริษัท
เงินรับ US$ 388,165.18
เงินจ่าย - เจ้าหนี้ (ภายนอก) US$ (330,664.92)
- ค่าใช้จ่าย (เลิกกิจการ เงินชดเชยแรงงาน ภาระภาษี) US$ (720,007.99)
เงินรับสุทธิ (เงินจ่ายมากกว่าเงินรับ) US$ (662,507.73)
กรณีการขายเงินลงทุน
เงินรับ - ค่าหุ้น US$ 66,000.00
- ชำระหนี้ (10% ของมูลหนี้เดิม) US$ 262,290.45
เงินรับสุทธิ US$ 328,290.45
คณะกรรมการได้พิจารณาข้อดีและข้อเสียในทางเลือก 2 แนวทางดังกล่าวข้างต้น ในการประชุม
ครั้งที่ 11/2546 ในวันที่ 6 มิถุนายน 2546 มีข้อสรุปคือสมควรที่จะขายในลักษณะการขายเงินลงทุน
เพราะได้รับเงินสุทธิสูงกว่าค่าใช้จ่ายในการเลิกบริษัท ภาระภาษีนำเข้าวัตถุดิบและภาษีขายที่ค้างชำระ
ต่อรัฐบาล เงินชดเชยการเลิกจ้างตามข้อกำหนดของสหภาพแรงงาน รวมค่าใช้จ่ายอื่นๆ คาดว่าจะสูง
ถึง US$ 720,000
2.3 ตามที่ได้กล่าวแล้วในข้อ 2.2 ในการขายเงินลงทุนบริษัทฯ จะได้พ้นความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ภายนอก
เช่น ค่าเช่าค้างจ่าย ค่าปลูกสร้างอาคารโรงงานค้างจ่าย เป็นต้น จำนวนเงิน US$ 330,664.92 ถ้าหาก
บริษัทฯเลือกวิธีการเลิกบริษัทฯจะต้องมีภาระภาษีที่ค้างชำระและเงินชดเชยการเลิกจ้างพนักงานอีกด้วย
เมื่อพิจารณาเรื่องภาระหนี้สินที่มีอยู่ในขณะนั้นและค่าใช้จ่ายจะต้องเกิดขึ้นในภายหลัง บริษัทฯมีความประสงค์ที่จะ
ขายเงินลงทุนเพื่อให้บริษัทฯ ไม่มีภาระหนี้สินดังที่ได้กล่าวข้างต้น จึงจำเป็นต้องลดหนี้ลงให้ชำระเพียงร้อยละ 10 ของมูล
หนี้เดิม
บริษัทฯได้ทำสัญญาซื้อขายหุ้นของบริษัท กัมโบเดีย คาสเซ่อร์พีค การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด และบริษัท กัมโบเดีย
ซีพีจี การ์เมนท์ เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2546 กำหนดการชำระเงินแบ่งเป็น 4 งวด คือ เดือนมิถุนายน
เดือนกรกฎาคม เดือนสิงหาคมและเดือนกันยายน 2546 ตามลำดับ บริษัทฯได้รับเงินครบถ้วนจำนวน US$ 66,000 ตามที่กำหนด
ไว้ในสัญญา
หนี้สินที่จะต้องชำระร้อยละ 10
ของมูลหนี้เดิม เป็นจำนวนเงิน US$ 262,290.45 นี้ ตามสัญญากำหนดให้แบ่งจ่าย
เป็น 4 งวด เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน 2547 เมื่อถึงกำหนดการชำระเงิน บริษัทฯได้ติดตามและทวงถาม ซึ่งลูก
หนี้ขอผัดผ่อนการชำระเงินออกไป โดยให้เหตุผลว่ากลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่เข้ามาบริหารกิจการต่ออยู่ในช่วงเวลาที่ประเทศ
กัมพูชามีการเลือกตั้งผู้บริหารประเทศ มีกลุ่มนักการเมืองชักจูงให้คนงานเข้าร่วมกิจกรรมของสหภาพแรงงานรวมถึงการ
นัดหยุดงาน เพื่อผลทางด้านการเมือง ทำให้การผลิตของโรงงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย สินค้าผลิตไม่ทันตามกำหนดส่ง
มอบ จึงถูกการยกเลิกคำสั่งซื้อ
บริษัทฯจึงได้แต่งตั้ง Mr.Han Heng แห่งสำนักงานกฎหมาย Sok Yeang Hansing Low Office เป็นผู้รับมอบอำนาจ
จากบริษัทฯให้ดำเนินการติดตามหนี้ที่ค้างชำระหนี้นี้ ขณะนี้อยู่ในระหว่างการสืบทรัพย์ของลูกหนี้รายนี้และดำเนินการทาง
ศาล
21/01/2548 17:08
CPH : ชี้แจงข้อมุลเพิ่มเติม (2)
วันที่ 20 มกราคม 2548
เรื่อง ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติม (2)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯขอชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือฉบับลงวันที่ 30 ธันวาคม 2547 ดังนี้
- ในการที่บริษัทฯให้เงินกู้ยืมแก่บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด และบริษัท อุตสาหกรรม
เยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด นั้น อายุสัญญาเงื่อนไขการชำระเงินคือ เมื่อทวงถาม
- การติดตามทวงถาม
ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด จะไม่สามารถชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ใดๆ เพราะมี
สินทรัพย์สุทธิติดลบ 44,028,346.60 บาท มีหนี้สินทั้งหมด 44,047,234.17 บาท ซึ่ง
ประกอบด้วย
ค่าบริการและสาธารณูปโภคด้างจ่าย 10,399,955.54 บาท
เจ้าหนี้ผู้ถือหุ้น - บจ.ซัคเซส เรียลเอสเตท 23,111,776.62 บาท
- CPH 10,325,650.61 บาท
เจ้าหนี้อื่นๆ 209,851.40 บาท
รวม 44,047,234.17 บาท
ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
บริษัทฯได้รับชำระดอกเบี้ยอย่างสม่ำเสมอ และมีสภาพคล่องทางการเงินดี จึงยัง
ไม่มีความจำเป็นต้องเรียกชำระหนี้คืน
- นโยบายการให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ CPH ในอนาคต
ให้กู้ยืมเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน คิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด
(มหาชน) และกำหนดชำระคืนภายใน 365 วัน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(บุญชู พงษ์เฉลิม)
กรรมการผู้อำนวยการ
CPH : ชี้แจงข้อมุลเพิ่มเติม (2)
วันที่ 20 มกราคม 2548
เรื่อง ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติม (2)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯขอชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือฉบับลงวันที่ 30 ธันวาคม 2547 ดังนี้
- ในการที่บริษัทฯให้เงินกู้ยืมแก่บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด และบริษัท อุตสาหกรรม
เยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด นั้น อายุสัญญาเงื่อนไขการชำระเงินคือ เมื่อทวงถาม
- การติดตามทวงถาม
ก) บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด
บริษัท คาสเซ่อร์พีค เคเทอริ่ง จำกัด จะไม่สามารถชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ใดๆ เพราะมี
สินทรัพย์สุทธิติดลบ 44,028,346.60 บาท มีหนี้สินทั้งหมด 44,047,234.17 บาท ซึ่ง
ประกอบด้วย
ค่าบริการและสาธารณูปโภคด้างจ่าย 10,399,955.54 บาท
เจ้าหนี้ผู้ถือหุ้น - บจ.ซัคเซส เรียลเอสเตท 23,111,776.62 บาท
- CPH 10,325,650.61 บาท
เจ้าหนี้อื่นๆ 209,851.40 บาท
รวม 44,047,234.17 บาท
ค) บริษัท อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ คาสเซ่อร์พีค จำกัด
บริษัทฯได้รับชำระดอกเบี้ยอย่างสม่ำเสมอ และมีสภาพคล่องทางการเงินดี จึงยัง
ไม่มีความจำเป็นต้องเรียกชำระหนี้คืน
- นโยบายการให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ CPH ในอนาคต
ให้กู้ยืมเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน คิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด
(มหาชน) และกำหนดชำระคืนภายใน 365 วัน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(บุญชู พงษ์เฉลิม)
กรรมการผู้อำนวยการ