ถามพี่เจ๋งเล่นเกี่ยวกับ bigc และ makro
ขอออกตัวก่อนนะครับ เพราะผมได้ยินมาอย่างนั้นเท่านั้นเอง อาจจะไม่ใช่ก็ได้ครับเพราะไม่ได้เจอเอง ได้ยินมาก็เลยครับก็เลยเอามาบอกเฉยๆ เอาเป็นว่าลืมๆไปก็ได้ครับ =)
แต่ยกตัวอย่างเรื่องการเล่นตัวเลขแล้วกันนะครับ
ซึ่งหากจะเล่นตัว Provision นั้นง่ายมากเลยครับเพราะตัว Provision นี้ขึ้นกับ Judgement ของผู้ตั้ง provision เท่านั้นเองครับ ปีก่อนอาจตั้งเยอะเพราะกำไรเยอะ ยกตัวอย่างเช่นการตั้งProvision หนี้สงสัยจะสูญก็ได้ครับ ปีก่อนกำไรอาจจะเยอะก็ Conservative ตั้งหนี้สูญไว้ 100% เลย สำหรับลูกหนี้รายใดรายหนึ่งที่ค้างนาน ปีนี้ผู้บริหารก็จะ conservative ทุกอย่าง write off พวก สินค้าล้าสมัย หมด แต่หาก ปีต่อมา กำไรเท่าเดิม หนี้ก็เท่าเดิม ก็ไม่ตั้งหนี้สูญ ซะอย่างนั้น โดยผู้บริหารบอกว่า สามารถเก็บเงินได้ sure 100% ส่วนไอ้ที่ตั้งแล้วก็ตั้งไป ไอ้ที่มาใหม่ก็ไม่ตั้งสะ อย่างนั้น หรือ slowmoving ก็ไม่ตั้ง provision ไว้เพราะ บอกว่าขายได้แน่ๆเป็นต้น
จะบอกว่าผิดก็ไม่ใช่เพราะ เป็นการใช้ช่องโหว่ทางการบัญชีที่เปิดช่องให้ใช้ Judgement ครับ ผู้สอบบัญชีหรือจะรู้ว่า จะเก็บเงินจากลูกหนี้รายนี้ได้มั้ยว้า... สินค้าตัวนี้ที่เหลือจะขายได้กี่%ว้า เป็นต้น แต่หากมากมายจริงๆเค้าก็จะ note ไว้ในหมายเหตุครับ หรือเขียนในหน้ารายงานเคยครับหากอ่านเจอ แต่เกิดขึ้นจริงน้อยมากครับ ต้องserious case จริงๆครับ
หรือไม่ก็เปลี่ยนแปลง อายุการตัดค่าเสื่อม ซะอย่างนั้น ของเก่าก็ตัดไป 3 ปี ส่วนของที่ซื้อใหม่ก็ตัด 5 ปีเพราะ บอกว่าเครื่องจักรใช้งานได้ 5 ปี แค่นี้ก็ทำไรไม่ได้แล้วครับ
หากนักลงทุนจะรู้ก็ต้องไปเปิดอ่านใน Note ของ งบการเงินเอาเองครับ ซึ่งหาก บ.เค้า เปิดเผยนโยบายการตั้งหนี้ หรือสำรองอื่นๆไว้ก็ดีไปครับ แต่เท่าที่สังเกตดู เค้าจะไม่ค่อยเปิดนะครับ อีกทั้ง ส่วนใหญ่นักลงทุนรายย่อยไม่ค่อยดูหมายเหตุประกอบงบการเงินเท่าไรครับ อาจจะดูแต่ว่า บ.a กำไรมากกว่า บ.b แต่หากเปรียบเทียบกันจริงๆแล้ว บ.b อาจจะ คิดค่าเสื่อม 5 ปี ในสินทรัพย์ตัวเดียวกัน กับที่ บ.a คิดค่าเสื่อม 10 ปี ครับ หรือ คิดต้นทุนแบบ FIFO หรือ LIFO ก็ทำให้กำไรไม่เท่ากันแล้วครับ
แต่ยกตัวอย่างเรื่องการเล่นตัวเลขแล้วกันนะครับ
ซึ่งหากจะเล่นตัว Provision นั้นง่ายมากเลยครับเพราะตัว Provision นี้ขึ้นกับ Judgement ของผู้ตั้ง provision เท่านั้นเองครับ ปีก่อนอาจตั้งเยอะเพราะกำไรเยอะ ยกตัวอย่างเช่นการตั้งProvision หนี้สงสัยจะสูญก็ได้ครับ ปีก่อนกำไรอาจจะเยอะก็ Conservative ตั้งหนี้สูญไว้ 100% เลย สำหรับลูกหนี้รายใดรายหนึ่งที่ค้างนาน ปีนี้ผู้บริหารก็จะ conservative ทุกอย่าง write off พวก สินค้าล้าสมัย หมด แต่หาก ปีต่อมา กำไรเท่าเดิม หนี้ก็เท่าเดิม ก็ไม่ตั้งหนี้สูญ ซะอย่างนั้น โดยผู้บริหารบอกว่า สามารถเก็บเงินได้ sure 100% ส่วนไอ้ที่ตั้งแล้วก็ตั้งไป ไอ้ที่มาใหม่ก็ไม่ตั้งสะ อย่างนั้น หรือ slowmoving ก็ไม่ตั้ง provision ไว้เพราะ บอกว่าขายได้แน่ๆเป็นต้น
จะบอกว่าผิดก็ไม่ใช่เพราะ เป็นการใช้ช่องโหว่ทางการบัญชีที่เปิดช่องให้ใช้ Judgement ครับ ผู้สอบบัญชีหรือจะรู้ว่า จะเก็บเงินจากลูกหนี้รายนี้ได้มั้ยว้า... สินค้าตัวนี้ที่เหลือจะขายได้กี่%ว้า เป็นต้น แต่หากมากมายจริงๆเค้าก็จะ note ไว้ในหมายเหตุครับ หรือเขียนในหน้ารายงานเคยครับหากอ่านเจอ แต่เกิดขึ้นจริงน้อยมากครับ ต้องserious case จริงๆครับ
หรือไม่ก็เปลี่ยนแปลง อายุการตัดค่าเสื่อม ซะอย่างนั้น ของเก่าก็ตัดไป 3 ปี ส่วนของที่ซื้อใหม่ก็ตัด 5 ปีเพราะ บอกว่าเครื่องจักรใช้งานได้ 5 ปี แค่นี้ก็ทำไรไม่ได้แล้วครับ
หากนักลงทุนจะรู้ก็ต้องไปเปิดอ่านใน Note ของ งบการเงินเอาเองครับ ซึ่งหาก บ.เค้า เปิดเผยนโยบายการตั้งหนี้ หรือสำรองอื่นๆไว้ก็ดีไปครับ แต่เท่าที่สังเกตดู เค้าจะไม่ค่อยเปิดนะครับ อีกทั้ง ส่วนใหญ่นักลงทุนรายย่อยไม่ค่อยดูหมายเหตุประกอบงบการเงินเท่าไรครับ อาจจะดูแต่ว่า บ.a กำไรมากกว่า บ.b แต่หากเปรียบเทียบกันจริงๆแล้ว บ.b อาจจะ คิดค่าเสื่อม 5 ปี ในสินทรัพย์ตัวเดียวกัน กับที่ บ.a คิดค่าเสื่อม 10 ปี ครับ หรือ คิดต้นทุนแบบ FIFO หรือ LIFO ก็ทำให้กำไรไม่เท่ากันแล้วครับ